เอทิลีน คือ

เอทิลีน (Ethylene) หรือก๊าซเอทีลีน C2H4 (Ethene) จัดเป็นก๊าซไฮโดรคาร์บอนรูปแบบนึ่ง ซึ่งมีความสามารถในการติดไฟได้ แต่ในส่วนของก๊าซเอทิลีนในผักและผลไม้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งเกิดจากการทำให้เกิดการสุกของผักและผลไม้หรืออาจเกิดขึ้นเมื่อพืชได้รับความเสียหาย บอบช้ำ ในการขนส่ง และการเก็บรักษา ส่วนของก๊าซเอทิลีน ก๊าซเอทิลีนในผักและผลไม้เป็นฮอร์โมนพืชที่ควบคุมการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช เช่นเดียวกับความเร็วที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับฮอร์โมนในมนุษย์หรือสัตว์ ก๊าซเอทิลีน (Ethylene) C2H4 ถูกค้นพบจากนักวิทยาศาสตร์ครั้งแรกเมื่อประมาณ 100 กว่าปีที่แล้ว

 

ผลกระทบของก๊าซเอทิลีน(Ethylene) C2H4 และการสุกของผักและผลไม้ ในขบวนการขนส่ง และการเก็บรักษา

การเปลี่ยนแปลงของก๊าซเอทิลีนที่มีผลถึงระดับเซล Cellular ของพืชผักผลไม้ เป็นขบวนการและวิธีการที่เราเรียกว่า กระบวนการเมทาบอลิซึม Metabolisms ของพืชผักผลไม้ หรือมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยาของพืชผักผลไม้นั้นเอง ซึ่งทำให้มีผลต่อการสุกงอม ของพืชผักผลไม้ได้ แต่การเกิดการสุกงอม อาจเกี่ยวข้องกับ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ CO2 และก๊าซออกซิเจน Oxygen ได้อีกด้วย ดังนั้นเราควรพิจารณาปัจจัยของก๊าซทั้งสองรวมด้วย แต่อย่างไรก็ตามความสุกงอมของผลไม้และพืชผักที่ได้รับก๊าซเอทธิลีน ยังคงมีผลกระทบแตกต่างกัน เช่น แอปเปิ้ล กล้วย และ ลูกแพร์ มักปล่อยก๊าซเอทีลีนในจำนวนมาก แต่เมื่อเทียบกับเชอร์รี่ และบลูเบอร์รี่ มักจะมีการผลิตก๊าซเอทีลีนในจำนวนที่น้อยกว่ามาก

ผลกระทบของก๊าซเอทธิลีนที่มีผลต่อพืชผักผลไม้คือการเปลี่ยนแปลงของผิวเนื้อสัมผัส สีและกระบวนการอื่น ๆ อีกประการนึ่ง ซึ่งเราควรคำนึงถึงพืชผักผลไม้คือการที่มีก๊าซเอทธิลีนมากและก๊าซเอทธิลีนน้อยมีผลทำให้พืชผักผลไม้ตายหรือเสียหายเร็วได้อีกด้วย โดยทั่วไปมักเกิดขึ้นเมื่อพืชได้รับความเสียหายในบางลักษณะ ผลกระทบอื่น ๆ ของก๊าซเอทธิลีนคือการสูญเสียคลอโรฟิลล์ที่ส่วนใบและลำต้นของพืชการตัดทอนของลำต้นและการดัดงอของลำต้น (epinasty) ก๊าซเอทิลีน(Ethylene) C2H4 อาจเป็นสิ่งที่ดีเมื่อเราเข้าใจความต้องการของพืชผักผลไม้ ในการทำให้สุกงอม แต่ก็อาจทำให้เสียหายได้ เมื่อมีปริมาณมากเกินไปเช่นกัน

 

ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับก๊าซเอทธิลีน(Ethylene) C2H4 กับเกษตรกร

เกษตรกรหรือผู้สนใจอาจทำความเข้าใจในการสุกงอมของพืชผักผลไม้ได้ง่ายๆ โดยศึกษา สังเกต และทำความเข้าใจต่อพืชผักผลไม้ที่มีผลต่อการสุกงอมจากเอทิลีนเพื่อนำมาใช้ให้พืชผักสุก และผักผลไม้สุกงอมตามความเหมาะสมและความต้องการของตลาด เข้าร่วมกับเวลาและการขนส่งและจัดเก็บ ซึ่งอาจนำมาใช้ในเชิงพาณิชย์ต่อไป เกษตรกรสามารถหาก๊าซเอทิลีน ซึ่งอยู่ในรูปของเหลว (ควรอ่านคำแนะนำในการใช้ให้ละเอียดก่อนนำไปใช้) นำมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับผู้บริโภคทั่วไปสามารถทำได้ที่บ้านเพียงแค่วางผลไม้หรือผักไว้ในถุงกระดาษเช่นกล้วย ส้ม สิ่งนี้จะทำให้ก๊าซเอทิลีนเข้มข้นอยู่ในถุงกระดาษทำให้ผลไม้สุกเร็วขึ้น อย่าใช้ถุงพลาสติกทำการเก็บรักษา ซึ่งจะส่งผลทำให้เกิดความชื้นและอาจย้อนกลับมาทำให้ผลไม้เน่าเสียหายได้เกินความจำเป็น

 




Gas Articles

Oxygen ออกซิเจน article
Carbon Monoxide ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ article
การแปลงหน่วย ระดับ ppm ppb ppt
ความดัน
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur dioxide) หรือ SO2
H2S article
Carbon dioxide คาร์บอนไดออกไซด์
ระดับเสียงที่เพิ่มขึ้นจากเสียงสองแหล่ง
pm 2.5 คืออะไร
ชนิดของความดัน
ก๊าซมีเทน
การวัดอัตราการซึมผ่านของไอน้ำ Water Vapor Transmission Rate article
การวัดอัตราการซึมผ่านของออกซิเจน Oxygen Transmission Rate (OTR) article
การวัดอัตราการซึมผ่านของคาร์บอนไดออกไซด์ Carbon Dioxide Transmission Rate (CO2TR)
ใบรับรองการสอบเทียบจะมีอายุเท่าไร สามารถระบุลงไปได้หรือไม่อย่างไร?
IP Rating
ใส่ไนโตรเจนเข้าไปในผลิตภัณฑ์ต่างๆ
เครื่องวัดก๊าซ แก๊ส
เครื่องวัดแก๊สรั่วและวิธีใช้เครื่องวัดแก๊ส
แก๊สและสมบัติของแก๊ส
ISO17025 สอบเทียบเครื่องวัดแก๊ส
ข้อกำหนดเรื่องการสอบเทียบในระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2015
O3 พิษภัยของแก๊สโอโซน
NOx พิษภัย article
Toluene พิษภัย
Nitrogen Dioxide NO2 พิษภัย
NH3 แอมโมเนีย
ฟอร์มาลดีไฮด์
Benzene เบนซีน
ตารางความดัน
ก๊าซไข่เน่า
ฟอสฟีน คืออะไร
Biogas ก๊าซชีวภาพ article
พิษภัย VOCs article
Modified Atmosphere Packaging(MAP) การบรรจุแบบปรับบรรยากาศ article
Modified Atmosphere Packaging (MAP) การบรรจุภัณฑ์แบบปรับบรรยากาศ ภาค 2 article
Dew Point and RH ความเข้าใจและความแตกต่างของทั้งสอง
Indoor Air Quality
Wattmeter วัตต์มิเตอร์
หลักการ NIR สำหรับเครื่องวัดความชื้นแบบต่อเนื่อง article
Lower Explosive Limit การป้องกันการติดไฟ และการระเบิด article
แคลมป์มิเตอร์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
การดักจับและกักเก็บคาร์บอน
คาร์บอนไดออกไซด์คืออะไรและใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
การย่อยสลายขยะชีวภาพแบบไม่ใช้ออกซิเจน
พื้นที่เก็บข้อมูลควบคุมบรรยากาศ (CA)
บรรจุภัณฑ์ดัดแปลงบรรยากาศ การยืดอายุการเก็บรักษาอาหารที่เน่าเสียง่าย
พืชสวน การวัดค่าคาร์บอนไดออกไซด์
ระบบปรับอากาศ การทำความร้อน การระบายอากาศ และการปรับอากาศ
การควบคุมกระบวนการ เครื่องตรวจสอบก๊าซที่ควบคุมการอบชุบโลหะด้วยความร้อน
เหมืองแร่ โซลูชันการตรวจจับก๊าซคุณภาพสูง
การผลิตก๊าซชีวภาพและการย่อยแบบไม่ใช้ออกซิเจน
Total Organic Carbon (TOC) โซลูชันการตรวจจับก๊าซคุณภาพสูงสำหรับการวิเคราะห์ TOC
การตรวจสอบก๊าซจากหลุมฝังกลบและการจัดการก๊าซจากหลุมฝังกลบด้วยการตรวจจับก๊าซมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์
การควบคุมการปล่อย CO2 ด้วยเซนเซอร์ตรวจจับก๊าซเพื่อการเกษตร
NDIR CO2 Sensors
ก๊าซไนโตรเจนในอุตสาหกรรม (Nitrogen gas in the industry)
การคัดนกในการต่อสู้กับโรคไข้หวัดนก (Bird Culling in the Battle Against Avian Flu)
เซ็นเซอร์ CO2 สำหรับความปลอดภัยของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (CO2 Sensors for Nuclear Power Plant Safety)
การวัด CO2 สำหรับเครื่องดื่มอัดลมและความปลอดภัยของโรงเบียร์ (CO2 Measurement for Drink Carbonation and Brewery Safety)
การตรวจจับแก๊สรั่วด้วยเซนเซอร์ (Gas Leak Detection with Edinburgh Sensors)
การใช้น้ำแข็งแห้ง อันตรายและความปลอดภัย (Dry Ice Uses, Hazards and Safety)
CEMS ของกรมโรงงาน (CEMS Online ของกรมโรงงาน)
เอทิลีนออกไซด์ คือ(Ethylene Oxide)
มาตรฐาน iso 17025 ของห้องปฏิบัติการ
CEMS Analyzer
Sulfur hexafluoride (SF6)
ก๊าซฮีเลียม (Helium)
กฎหมาย สถาน ที่เก็บ ก๊าซ LPG (การจัดเก็บถังแก๊ส LPG)
กฎหมายการติดตั้ง gas detector(มาตรฐานการติดตั้ง gas detector )
ตู้ดูดควัน ห้องปฏิบัติการ ( Fume Hood )