การวัดอัตราการซึมผ่านของออกซิเจน Oxygen Transmission Rate (OTR) article

 การวัดอัตราการซึมผ่านของออกซิเจน Oxygen Transmission Rate (OTR)

จากบทความ เครื่องวัดอัตราการซึมผ่านของไอน้ำ ตอนนี้เราจะมาลองศึกษา เครื่องวัดอัตราการซึมผ่านของออกซิเจนกันดูบ้างนะคะ ตามที่เราทราบกันดีว่า ผลิตภัณฑ์ที่ดี ต้องขึ้นอยู่กับบรรจุภัณฑ์ที่ดีด้วย ดังนั้นบทความนี้ จึงต้องการที่จะบอกกกล่าวถึงวิธีการ และหลักการพื้นฐานในการป้องกัน หรือควบคุมความสามารถในการซึมผ่านของออกซิเจนผ่านบรรจุภัณฑ์ที่จะมีผลกระทบต่ออายุของผลิตภัณฑ์นั้นๆ เช่น อาหาร ยารักษาโรค เครื่องดื่ม หรือแม้กระทั่งสารเคมีบางชนิด ซึ่งจะมีผลต่อผลิตภัณฑ์ทางด้านอายุของผลิตภัณฑ์ สี กลิ่น เนื้อสัมผัส รสชาติ และคุณสมบัติที่เปลี่ยนไป

รูปภาพที่หนึ่ง แสดงถึงลักษณะของการซึมผ่านของออกซิเจนในรูปแบบปกติของผลิตภัณฑ์

 

  จะเห็นว่าผลิตภัณฑ์จะมีความสามารถในการป้องกันได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งเราจะไม่ทราบว่าผลิตภัณฑ์สามารถป้องกันเป็นอย่างไร ดังนั้นเราจึงได้เกิดเครื่องวัดอัตราการซึมผ่านของออกซิเจนขึ้นมา

  หลักการวัดการซึมผ่านของออกซิเจน

เรามีวิธีง่ายๆ ในการวัดการซึมผ่านของออกซิเจนมีขั้นตอนไม่ยุ่งยาก เตรียมฟิล์ม หรือภาชนะที่ต้องการทำการวัด ถ้าเป็นฟิล์มจะเป็นไปตามรูปด้านล่าง


 

 จากรูป เครื่องจะทำการปล่อยก๊าซออกซิเจน Pure Oxygen (99% +1% Hydrogen) ทางด้านบนของห้องทดสอบด้านบนของแผ่นฟิล์ม โดยออกซิเจนทางด้านบนจะเป็นค่าออกซิเจนระดับสูง และส่วนห้องทดสอบทางด้านล่างจะเป็นก๊าซไนไตรเจน Nitrogen ก๊าซไนไตรเจน Nitrogen จะเป็น ก๊าซไนไตรเจน Nitrogen ที่บริสุทธิ์ และเมื่อให้เครื่องทดสอบในสถานะนี้ต่อไป ค่าออกซิเจน Oxygen ทางด้านบนก็จะค่อยๆ ซึมผ่านฟิมล์ที่เราได้ปิดกั้น โดยการทำงานจะต้องขึ้นอยู่กับช่วงเวลาด้วย ดังนั้นสัมการในการวัดจึงจะต้องมีเวลาและพื้นที่มาเป็นตัวกำหนดค่าที่เราต้องการหาจากการซึมผ่านของออกซิเจน ด้วย OTR

 

 เมื่อเราทราบค่าเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เราก็จะสามารถรู้ได้ทันที ว่าเราควรจะควบคุมผลิตภัณฑ์เราอย่างไร ควรใช้วัสดุประเภทใดในการควบคุมการซึมผ่านของออกซิเจนด้วย OTR เท่านี้เราก็จะได้ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับตัวสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ของเรา

 โดยมาตรฐานการทดสอบที่เราใช้ทำการทดสอบการซึมผ่านของออกซิเจน OTR เราก็ใช้ดังนี้นะคะ

ASTM D-3985, ASTM F-1307, ASTM F-1927, ISO 15105, JIS K-7126, DIN 53380

บทความนี้ เกี่ยวเนื่องกับบทความการวัดการบรรจุภํณฑ์แบบปรับบรรยากาศ ภาค 1 และ ภาค 2

 

 

 

สินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับบทความนี้




Gas Articles

Oxygen ออกซิเจน article
Carbon Monoxide ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ article
การแปลงหน่วย ระดับ ppm ppb ppt
ความดัน
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur dioxide) หรือ SO2
H2S article
Carbon dioxide คาร์บอนไดออกไซด์
ระดับเสียงที่เพิ่มขึ้นจากเสียงสองแหล่ง
pm 2.5 คืออะไร
ชนิดของความดัน
ก๊าซมีเทน
เอทิลีน คือ
การวัดอัตราการซึมผ่านของไอน้ำ Water Vapor Transmission Rate article
การวัดอัตราการซึมผ่านของคาร์บอนไดออกไซด์ Carbon Dioxide Transmission Rate (CO2TR)
ใบรับรองการสอบเทียบจะมีอายุเท่าไร สามารถระบุลงไปได้หรือไม่อย่างไร?
IP Rating
ใส่ไนโตรเจนเข้าไปในผลิตภัณฑ์ต่างๆ
เครื่องวัดก๊าซ แก๊ส
เครื่องวัดแก๊สรั่วและวิธีใช้เครื่องวัดแก๊ส
แก๊สและสมบัติของแก๊ส
ISO17025 สอบเทียบเครื่องวัดแก๊ส
ข้อกำหนดเรื่องการสอบเทียบในระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2015
O3 พิษภัยของแก๊สโอโซน
NOx พิษภัย article
Toluene พิษภัย
Nitrogen Dioxide NO2 พิษภัย
NH3 แอมโมเนีย
ฟอร์มาลดีไฮด์
Benzene เบนซีน
ตารางความดัน
ก๊าซไข่เน่า
ฟอสฟีน คืออะไร
Biogas ก๊าซชีวภาพ article
พิษภัย VOCs article
Modified Atmosphere Packaging(MAP) การบรรจุแบบปรับบรรยากาศ article
Modified Atmosphere Packaging (MAP) การบรรจุภัณฑ์แบบปรับบรรยากาศ ภาค 2 article
Dew Point and RH ความเข้าใจและความแตกต่างของทั้งสอง
Indoor Air Quality
Wattmeter วัตต์มิเตอร์
หลักการ NIR สำหรับเครื่องวัดความชื้นแบบต่อเนื่อง article
Lower Explosive Limit การป้องกันการติดไฟ และการระเบิด article
แคลมป์มิเตอร์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
การดักจับและกักเก็บคาร์บอน
คาร์บอนไดออกไซด์คืออะไรและใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
การย่อยสลายขยะชีวภาพแบบไม่ใช้ออกซิเจน
พื้นที่เก็บข้อมูลควบคุมบรรยากาศ (CA)
บรรจุภัณฑ์ดัดแปลงบรรยากาศ การยืดอายุการเก็บรักษาอาหารที่เน่าเสียง่าย
พืชสวน การวัดค่าคาร์บอนไดออกไซด์
ระบบปรับอากาศ การทำความร้อน การระบายอากาศ และการปรับอากาศ
การควบคุมกระบวนการ เครื่องตรวจสอบก๊าซที่ควบคุมการอบชุบโลหะด้วยความร้อน
เหมืองแร่ โซลูชันการตรวจจับก๊าซคุณภาพสูง
การผลิตก๊าซชีวภาพและการย่อยแบบไม่ใช้ออกซิเจน
Total Organic Carbon (TOC) โซลูชันการตรวจจับก๊าซคุณภาพสูงสำหรับการวิเคราะห์ TOC
การตรวจสอบก๊าซจากหลุมฝังกลบและการจัดการก๊าซจากหลุมฝังกลบด้วยการตรวจจับก๊าซมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์
การควบคุมการปล่อย CO2 ด้วยเซนเซอร์ตรวจจับก๊าซเพื่อการเกษตร
NDIR CO2 Sensors
ก๊าซไนโตรเจนในอุตสาหกรรม (Nitrogen gas in the industry)
การคัดนกในการต่อสู้กับโรคไข้หวัดนก (Bird Culling in the Battle Against Avian Flu)
เซ็นเซอร์ CO2 สำหรับความปลอดภัยของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (CO2 Sensors for Nuclear Power Plant Safety)
การวัด CO2 สำหรับเครื่องดื่มอัดลมและความปลอดภัยของโรงเบียร์ (CO2 Measurement for Drink Carbonation and Brewery Safety)
การตรวจจับแก๊สรั่วด้วยเซนเซอร์ (Gas Leak Detection with Edinburgh Sensors)
การใช้น้ำแข็งแห้ง อันตรายและความปลอดภัย (Dry Ice Uses, Hazards and Safety)
CEMS ของกรมโรงงาน (CEMS Online ของกรมโรงงาน)
เอทิลีนออกไซด์ คือ(Ethylene Oxide)
มาตรฐาน iso 17025 ของห้องปฏิบัติการ
CEMS Analyzer
Sulfur hexafluoride (SF6)
ก๊าซฮีเลียม (Helium)
กฎหมาย สถาน ที่เก็บ ก๊าซ LPG (การจัดเก็บถังแก๊ส LPG)
กฎหมายการติดตั้ง gas detector(มาตรฐานการติดตั้ง gas detector )
ตู้ดูดควัน ห้องปฏิบัติการ ( Fume Hood )