Biogas ก๊าซชีวภาพ article

 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับก๊าซชีวภาพ (Introduction to Biogas)

        ก๊าซชีวภาพ เป็นก๊าซที่เกิดจากการนำของเสีย หรือของที่ถูกทิ้งในโรงงานอุตสาหกรรมหรือบ้านเรือน (Waste Water Treatment plant, Food Processing Company and Farm, and School, House) มาทำให้เกิดกระบวนหมัก เพื่อให้ได้ก๊าซที่มีพลังงานเพียงพอที่จะทำให้เกิดเป็นพลังงาน โดยอาศัยการเจริญเติบโตของแบคทีเรียมาทำให้เกิดปฏิกิริยาทางกระบวนการย่อยสลาย และทำให้เกิดก๊าซ

        กล่าวคือเป็นกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยใช้แบคทีเรีย และปรับเปลี่ยนสภาวะโดยปราศจากออกซิเจน (Oxygen) โดยจะใช้แบคทีเรียในการสร้างมีเทน เราเรียกกลุ่มนี้ว่า (Methanogens bacteria) และ พวกที่ไม่สร้างมีเทน (Non-Methanogens bacteria) โดยกลุ่มแรกจะมีหน้าที่ย่อยสลายสารอินทรีย์ ทำให้เกิดก๊าซมีเทน (CH4) โดยก่อนที่เราจะได้ก๊าซมีเทน เราจะต้องผ่านขั้นตอนและขบวนการบำบัดในหลายขั้นตอน ก่อนที่จะนำก๊าซมีเทนมาใช้นะครับ เนื่องจากในกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์นั้น จะมีก๊าซหลายชนิด และกากจากขบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ รวมทั้งความชื้นอีกด้วย

       เมื่อเราได้ก๊าซชีวภาพ (Biogas) ที่ผ่านขบวนการบำบัดเรียบร้อย ส่วนมากก็มักจะได้ก๊าซมีเทน(CH4) เป็นส่วนใหญ่ถึง 50 ถึง 70% และคาร์บอนไดออกไซด์ 30 ถึง 50เลยนะครับ และอาจจะมีก๊าซตัวอื่นๆ รวมอยู่ด้วย เช่น ก๊าซแอมโมเนีย (NH3) ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (H2S) หรือก๊าซไข่เน่า นั้นเอง รวมทั้งส่วนใหญ่ ในกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์นั้น มักจะหลีกเลี่ยง ก๊าซออกซิเจน (Oxygen) ด้วยเนื่องจากอาจจะเป็นตัวการให้เกิดการติดไฟในกระบวนการนำไปใช้ได้ ซึ่งอาจเกิดอันตรายถ้าไม่ได้ถูกควบคุมอย่างดี

ขั้นตอนการเกิดก๊าซชีวภาพ (Biogas Methods)

ขั้นตอนการเกิดกรด (Acid former)

      เป็นการขั้นตอนการย่อยสลายสารอินทรีย์โมเลกุลขนาดใหญ่ ให้เป็นสารละลาย จนกระทั้งเป็นกรดอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile Acids) เช่น พวก เศษพืช ไขมัน โปรตีนและคาร์โบไฮเดรท จากพืชและสัตว์ (CHO, Proteins, Fats) จะถูกเปลี่ยนให้กลายเป็นกรดไขมัน (Organic Fatty Acid) (Sugar, Amino Acid, Fatty Acids) โดยขั้นตอนนี้จะใช้แบคทีเรียกลุ่มสร้างกรด (Acidproducing Bacteria) และเมื่ออุณหภูมิและความเป็นกรดเหมาะสม จะทำให้เกิดแบคทีเรียอีกกลุ่มเพิ่มขึ้นมา เราเรียแบคทีเรียกลุ่มนี้ว่า กลุ่มสร้างมีเทน (Methane-producing bacteria) จะเจริญเติบโตและเปลี่ยนกรดอินทรีย์ที่เกิดจากแบคทีเรียกลุ่มแรกให้กลายเป็นก๊าซมีเทน (CH4) ที่เราต้องการได้ (CH4+CO2+Bacterial Cell)

ขั้นตอนการหมักเพื่อให้ได้ก๊าซมีเทน (Methane fermentation)

      การที่จะทำให้แบคทีเรียเจริญเติบโตได้ดีและทำการผลิตก๊าซมีเทนให้เราอย่างต่อเนื่องจะต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่างในการดำเนินการ (Organic wastes are decomposed by methane germ) เช่น สารอาหารที่ให้กับแบคทีเรีย อุณหภูมิ ความเป็นกรด ด่าง (pH) การผสมของแบคทีเรียกับอาหารของแบคทีเรีย ระยะเวลาในการเก็บกัก ความเข้มข้นของของแข็งในบ่อหมัก สารที่อาจทำร้ายแบคทีเรีย รวมถึงวิธีการและรูปแบบที่ทางผู้ศึกษาควรเลือกใช้ให้เหมาะสม กับพื้นที่ และสภาพเศรษฐกิจ ในความต้องการนั้นๆ

กด like เป็นกำลังใจให้ด้วยนะคะ

สินค้าที่เกี่ยวข้องกับบทความนี้

กลับหน้าหลัก 




Gas Articles

Oxygen ออกซิเจน article
Carbon Monoxide ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ article
การแปลงหน่วย ระดับ ppm ppb ppt
ความดัน
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur dioxide) หรือ SO2
H2S article
Carbon dioxide คาร์บอนไดออกไซด์
ระดับเสียงที่เพิ่มขึ้นจากเสียงสองแหล่ง
pm 2.5 คืออะไร
ชนิดของความดัน
ก๊าซมีเทน
เอทิลีน คือ
การวัดอัตราการซึมผ่านของไอน้ำ Water Vapor Transmission Rate article
การวัดอัตราการซึมผ่านของออกซิเจน Oxygen Transmission Rate (OTR) article
การวัดอัตราการซึมผ่านของคาร์บอนไดออกไซด์ Carbon Dioxide Transmission Rate (CO2TR)
ใบรับรองการสอบเทียบจะมีอายุเท่าไร สามารถระบุลงไปได้หรือไม่อย่างไร?
IP Rating
ใส่ไนโตรเจนเข้าไปในผลิตภัณฑ์ต่างๆ
เครื่องวัดก๊าซ แก๊ส
เครื่องวัดแก๊สรั่วและวิธีใช้เครื่องวัดแก๊ส
แก๊สและสมบัติของแก๊ส
ISO17025 สอบเทียบเครื่องวัดแก๊ส
ข้อกำหนดเรื่องการสอบเทียบในระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2015
O3 พิษภัยของแก๊สโอโซน
NOx พิษภัย article
Toluene พิษภัย
Nitrogen Dioxide NO2 พิษภัย
NH3 แอมโมเนีย
ฟอร์มาลดีไฮด์
Benzene เบนซีน
ตารางความดัน
ก๊าซไข่เน่า
ฟอสฟีน คืออะไร
พิษภัย VOCs article
Modified Atmosphere Packaging(MAP) การบรรจุแบบปรับบรรยากาศ article
Modified Atmosphere Packaging (MAP) การบรรจุภัณฑ์แบบปรับบรรยากาศ ภาค 2 article
Dew Point and RH ความเข้าใจและความแตกต่างของทั้งสอง
Indoor Air Quality
Wattmeter วัตต์มิเตอร์
หลักการ NIR สำหรับเครื่องวัดความชื้นแบบต่อเนื่อง article
Lower Explosive Limit การป้องกันการติดไฟ และการระเบิด article
แคลมป์มิเตอร์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
การดักจับและกักเก็บคาร์บอน
คาร์บอนไดออกไซด์คืออะไรและใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
การย่อยสลายขยะชีวภาพแบบไม่ใช้ออกซิเจน
พื้นที่เก็บข้อมูลควบคุมบรรยากาศ (CA)
บรรจุภัณฑ์ดัดแปลงบรรยากาศ การยืดอายุการเก็บรักษาอาหารที่เน่าเสียง่าย
พืชสวน การวัดค่าคาร์บอนไดออกไซด์
ระบบปรับอากาศ การทำความร้อน การระบายอากาศ และการปรับอากาศ
การควบคุมกระบวนการ เครื่องตรวจสอบก๊าซที่ควบคุมการอบชุบโลหะด้วยความร้อน
เหมืองแร่ โซลูชันการตรวจจับก๊าซคุณภาพสูง
การผลิตก๊าซชีวภาพและการย่อยแบบไม่ใช้ออกซิเจน
Total Organic Carbon (TOC) โซลูชันการตรวจจับก๊าซคุณภาพสูงสำหรับการวิเคราะห์ TOC
การตรวจสอบก๊าซจากหลุมฝังกลบและการจัดการก๊าซจากหลุมฝังกลบด้วยการตรวจจับก๊าซมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์
การควบคุมการปล่อย CO2 ด้วยเซนเซอร์ตรวจจับก๊าซเพื่อการเกษตร
NDIR CO2 Sensors
ก๊าซไนโตรเจนในอุตสาหกรรม (Nitrogen gas in the industry)
การคัดนกในการต่อสู้กับโรคไข้หวัดนก (Bird Culling in the Battle Against Avian Flu)
เซ็นเซอร์ CO2 สำหรับความปลอดภัยของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (CO2 Sensors for Nuclear Power Plant Safety)
การวัด CO2 สำหรับเครื่องดื่มอัดลมและความปลอดภัยของโรงเบียร์ (CO2 Measurement for Drink Carbonation and Brewery Safety)
การตรวจจับแก๊สรั่วด้วยเซนเซอร์ (Gas Leak Detection with Edinburgh Sensors)
การใช้น้ำแข็งแห้ง อันตรายและความปลอดภัย (Dry Ice Uses, Hazards and Safety)
CEMS ของกรมโรงงาน (CEMS Online ของกรมโรงงาน)
เอทิลีนออกไซด์ คือ(Ethylene Oxide)
มาตรฐาน iso 17025 ของห้องปฏิบัติการ
CEMS Analyzer
Sulfur hexafluoride (SF6)
ก๊าซฮีเลียม (Helium)
กฎหมาย สถาน ที่เก็บ ก๊าซ LPG (การจัดเก็บถังแก๊ส LPG)
กฎหมายการติดตั้ง gas detector(มาตรฐานการติดตั้ง gas detector )
ตู้ดูดควัน ห้องปฏิบัติการ ( Fume Hood )