Orange Innovation Co.,Ltd 92/88 Soi Serithai29,Khlong Kum, Bueng Kum, Bangkok Thailand

![]() | Lower Explosive Limit การป้องกันการติดไฟ และการระเบิด![]() จากบทความที่ผ่านมาทางบริษัทได้กล่าวถึงก๊าซหลายๆ ชนิด รวมถึงก๊าซออกซิเจนซึ่งมีความสำคัญในการหายใจของมนุษย์ แต่มีอีกหน้าที่หนึ่งของออกซิเจนที่ยังต้องเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย คือ เป็นองค์ประกอบหนึ่งของการทำให้ติดไฟ หรือเราอาจจะเรียกอีกอย่างว่า องค์ประกอบ 3 อย่างที่ทำให้เกิดการจุดติดไฟ ซึ่งจะมีหัวข้อดังต่อไปนี้ 1. มีสารไวไฟในปริมาณเพียงพอที่จะจุดติดไฟได้ (Flammable Material in Ignitable Quantities) 2. มีออกซิเจนในปริมาณที่เพียงพอให้เกิดการเผาไหม้ 3. มีแหล่งจุดติดไฟ (Ignition Source) ทําให้เกิดพลังงานความร้อนที่มากพอกับส่วนผสมของ |
![]() | ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur dioxide) หรือ SO2 ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur dioxide) หรือ SO2 คือ ก๊าซที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าและค่อนข้างจะมีกลิ่นเหม็นแสบจมูก มักทำปฏิกิริยากับสารอื่นๆ และละลายน้ำได้ดี จนได้สารประกอบที่เป็นอันตราย และสารที่มักทำให้เกิดขึ้นเมื่อทำปฏิกิริยาคือ กรดซัลฟูริก ซึ่งมีความสามารถในการกัดกร่อนค่อนข้างรุนแรง และเมื่อสัมผัสมักทำให้เกิดการแสบร้อนและบาดเจ็บตามมาได้ หรือการสูดดมก็จะทำให้เกิดก๊าซพิษชนิดนี้เข้าสู่ร่างกายและทำให้เกิดการเจ็บป่วยตามมา แหล่งที่มาของ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur dioxide) หรือ SO2 ในบริเวณทั่วไปในบรรยากาศ มักพบเจอได้ประมาณ 0.02 to 0.1 ppm แต่ถ้าพบเจอสูงๆ ประมาณร้อยละ 99% มาจากสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยมาจากกิจกรรมในโรงงานอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ เช่น จากการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยใช้ถ่านหิน หรือน้ำมัน เป็นต้น กิจกรรมนี้จะทำ |
![]() | Modified Atmosphere Packaging(MAP) การบรรจุแบบปรับบรรยากาศ![]() การบรรจุแบบปรับบรรยากาศ หรือ การปรับสภาวะด้านในของบรรจุภัณฑ์ |
![]() | Modified Atmosphere Packaging (MAP) การบรรจุภัณฑ์แบบปรับบรรยากาศ ภาค 2![]() เราจะกล่าวถึงก๊าซ Gas ที่ได้รับความนิยมนำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มมากที่สุดในปัจจุบันนั้นก็คือ ก๊าซไนโตรเจน Nitrogen และ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ Carbon Dioxide ซึ่งโดยทั่วไปก๊าซทั้งสองชนิดนี้ มักจะถูกพ่นเข้าไปแทนที่อากาศ Air ภายในภาชนะบรรจุภัณฑ์ เพื่อทำการไล่ก๊าซออกซิเจน Oxygen ออกไปให้ได้มากที่สุด และนำก๊าซทั้งสองชนิดที่กล่าวถึงข้างต้น มาแทนที่ก๊าซออกซิเจน Oxygen ในบรรจุภัณฑ์ Packaging ด้านใน โดยกระบวนการนี้เป็นการลดปฏิกิริยาที่ออกซิเจน Oxygen จะทำปฏิกิริยากับอาหารด้านใน หรือเราเรียกปฏิกิริยานี้ว่า ออกซิเดชั่น Oxidation Reaction ซึ่งมันจะมีผลกระทบมากกับอาหารที่มีไขมัน เป็นส่วนประกอบอยู่ เช่น มันฝรั่ง |
![]() | การวัดอัตราการซึมผ่านของไอน้ำ Water Vapor Transmission Rate![]() การวัดอัตราการซึมผ่านของไอน้ำ Water Vapor Transmission Rate ตามที่เราทราบกันดีว่า ผลิตภัณฑ์ที่ดี ต้องขึ้นอยู่กับบรรจุภัณฑ์ที่ดีด้วย ดังนั้นบทความนี้ จึงต้องการที่จะบอกกกล่าวถึงวิธีการ และหลักการพื้นฐานในการป้องกัน หรือควบคุมความสามารถในการซึมผ่านของไอน้ำผ่านบรรจุภัณฑ์ที่จะมีผลกระทบต่ออายุของผลิตภัณฑ์นั้นๆ เช่น อาหาร ยารักษาโรค เครื่องดื่ม หรือแม้กระทั่งสารเคมีบางชนิด ซึ่งจะมีผลต่อผลิตภัณฑ์ทางด้านอายุของผลิตภัณฑ์ สี กลิ่น เนื้อสัมผัส รสชาติ และคุณสมบัติที่เปลี่ยนไป
|
[Go to top] |