Gas Articles


ก๊าซมีเทนก๊าซมีเทน

ก๊าซมีเทน
เป็นก๊าซไม่มีสีไม่มีกลิ่นและมีความไวไฟสูง และค่อนข้างเบากว่าอากาศดังนั้นจึงทำให้มันมักจะลอยสะสมอยู่ด้านบน หรือสะสมบริเวณด้านบน ซึ่งอาจทำเกิดอัคคีภัยได้อย่างง่ายดาย และเป็นส่วนประกอบหลักในก๊าซธรรมชาติซึ่งใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าให้กับบ้านเรือนและให้พลังงานความร้อนกับคนทั่วโลก ตลอดจนก๊าซมีเทนคิดเป็นประมาณร้อยละ 10 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดที่มนุษย์เป็นตัวขับเคลื่อน ก๊าซมีเทนเป็นก๊าซเรือนกระจกอันดับสองรองจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก ก๊าซมีเทนมีพันธะทางโมเลกุล มี 4 ขาของไฮโดรเจน จับกับพันธะ คาร์บอน 1 อะตอม เราจึงได้ CH4 เป็นสูตรเคมีง่ายๆ ที่อาจจะไม่ง่ายเหมือนชื่อ เพราะความอันตราย และการใช้งานที่ต้องการ ความระมัดระวังอย่างสูง ตามราชกิจจานุเบกษา หน้า 12 ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562 ได้กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และ ดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับที่อับอากาศ ในหัวข้อ 2 มีก๊าซ ไอ หรือละองที่ติดไฟหรือระเบิดได้ (Lower 

เอทิลีนเอทิลีน คือ

 เอทิลีน (Ethylene) หรือก๊าซเอทีลีน C2H4 (Ethene) จัดเป็นก๊าซไฮโดรคาร์บอนรูปแบบนึ่ง ซึ่งมีความสามารถในการติดไฟได้ แต่ในส่วนของก๊าซเอทิลีนในผักและผลไม้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งเกิดจากการทำให้เกิดการสุกของผักและผลไม้หรืออาจเกิดขึ้นเมื่อพืชได้รับความเสียหาย บอบช้ำ ในการขนส่ง และการเก็บรักษา ส่วนของก๊าซเอทิลีน ก๊าซเอทิลีนในผักและผลไม้เป็นฮอร์โมนพืชที่ควบคุมการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช เช่นเดียวกับความเร็วที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับฮอร์โมนในมนุษย์หรือสัตว์ ก๊าซเอทิลีน (Ethylene) C2H4 ถูกค้นพบจากนักวิทยาศาสตร์ครั้งแรกเมื่อประมาณ 100 กว่าปีที่แล้ว

การวัดอัตราการซึมผ่านของไอน้ำ Water Vapor Transmission Ratearticle

การวัดอัตราการซึมผ่านของไอน้ำ Water Vapor Transmission Rate

ตามที่เราทราบกันดีว่า ผลิตภัณฑ์ที่ดี ต้องขึ้นอยู่กับบรรจุภัณฑ์ที่ดีด้วย ดังนั้นบทความนี้ จึงต้องการที่จะบอกกกล่าวถึงวิธีการ และหลักการพื้นฐานในการป้องกัน หรือควบคุมความสามารถในการซึมผ่านของไอน้ำผ่านบรรจุภัณฑ์ที่จะมีผลกระทบต่ออายุของผลิตภัณฑ์นั้นๆ เช่น อาหาร ยารักษาโรค เครื่องดื่ม หรือแม้กระทั่งสารเคมีบางชนิด ซึ่งจะมีผลต่อผลิตภัณฑ์ทางด้านอายุของผลิตภัณฑ์ สี กลิ่น เนื้อสัมผัส รสชาติ และคุณสมบัติที่เปลี่ยนไป

การวัดอัตราการซึมผ่านของออกซิเจนการวัดอัตราการซึมผ่านของออกซิเจน Oxygen Transmission Rate (OTR)article

การวัดอัตราการซึมผ่านของออกซิเจน Oxygen Transmission Rate (OTR)

จากบทความ เครื่องวัดอัตราการซึมผ่านของไอน้ำ ตอนนี้เราจะมาลองศึกษา เครื่องวัดอัตราการซึมผ่านของออกซิเจนกันดูบ้างนะคะ ตามที่เราทราบกันดีว่า ผลิตภัณฑ์ที่ดี ต้องขึ้นอยู่กับบรรจุภัณฑ์ที่ดีด้วย ดังนั้นบทความนี้ จึงต้องการที่จะบอกกกล่าวถึงวิธีการ และหลักการพื้นฐานในการป้องกัน หรือควบคุมความสามารถในการซึมผ่านของออกซิเจนผ่านบรรจุภัณฑ์ที่จะมีผลกระทบต่ออายุของผลิตภัณฑ์นั้นๆ เช่น อาหาร ยารักษาโรค เครื่องดื่ม หรือแม้กระทั่งสารเคมีบางชนิด ซึ่งจะมีผลต่อผลิตภัณฑ์ทางด้านอายุของผลิตภัณฑ์ สี กลิ่น เนื้อสัมผัส รสชาติ และคุณสมบัติที่เปลี่ยนไป

การวัดอัตราการซึมผ่านของคาร์บอนไดออกไซด์ Carbon Dioxide Transmission Rate (CO2TR)การวัดอัตราการซึมผ่านของคาร์บอนไดออกไซด์ Carbon Dioxide Transmission Rate (CO2TR)

 การวัดอัตราการซึมผ่านของคาร์บอนไดออกไซด์ Carbon Dioxide Transmission Rate (CO2TR) ผลิตภัณฑ์หลายๆชนิดในท้องตลาดบ้านเรา ส่วนมากจะมีการปรับส่วนผสมของก๊าซต่างๆ ด้านใน เป็นที่เรียบร้อย ไม่ว่าจะเป็น ขนมถุง ยา หรือแม้กระทั้งเครื่องดื่มทั้งหลาย ที่อยู่ในท้องตลาด บทความนี้ ขอพูด ถึง ผลิตภัณฑ์ที่มีการดูแลและป้องกันทางด้าน CO2 หรือ คาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนมากในท้องตลาดจะมีด้วยกันสองส่วนใหญ่ๆ เป็นสำคัญ คือ น้ำอัดลม และบรรจุภัณฑ์ทางด้านเนื้อสัตว์ ซึ่ง CO2 จะทำหน้าที่ให้สีสดใสให้กับเนื้อสัตว์อีกด้วย แม้กระทั่งสารเคมี สารประกอบทางเคมี อีกด้วย ซึ่งจะมีผลกระทบ ต่อผลิตภัณฑ์ทางด้านอายุ

[Go to top]