ความดัน

หน่วยแรงดัน

■ psi (Pounds per square inch) ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
■ kPa (Kilopascal) กิโลปาสคาล
■ kg/cm2 (Kilogram per Square centimeters)  กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
■ cm of H2O (Centimeters of water) : เซนติเมตรของน้ำ
■ inches of Hg (Inch of Mercury) : นิ้วปรอท
■ mm of Hg (Millimeters of Mercury) มิลลิเมตรปรอท
■ inches of H2O (Inch of Water) นิ้วน้ำ
■ atmospheres : ความดันบรรยากาศที่ปกคลุม
■ bar : หน่วยบาร์
■ mbar : (Millibar)หน่วยมิลลิบาร์
■ Mpa : (Mega Pascal) เมกะปาสคาล

 

ความดัน pressure

 ความดัน หรือ pressure สัญลักษณ์ หรือตัวย่อ p หรือ Pเป็นปริมาณตกกระทบชนิดหนึ่งในทางฟิสิกส์ หมายถึง อัตราส่วนระหว่างแรงที่กระทำตั้งฉากซึ่งทำโดยของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ต่อพื้นที่ของหน้าตัดนั้นๆ (Solid Liquid Gases) ความดันเป็นปริมาณ

สเกลาร์ ซึ่งเป็นปริมาณที่มีแต่ขนาดไม่มีทิศทาง

 

ความดัน หมายถึง แรง force หรือตัวย่อต่อ หน่วยพื้นที่ (area ตัวย่อ A)

สูตรการกระทำของความดัน

P คือ ความดัน (Pressure)

F คือ แรงที่กระทำตั้งฉากกับพื้นผิวนั้นๆ (Normal Force)

A คือ พื้นที่ (Area) — หรืออาจใช้ S (Surface; พื้นผิว)

 

 

 

 

 

 

เนื่องจาก F มีหน่วยเป็น “

 

 

นิวตัน” (N) และ A (Area) พื้นที่ มีหน่วยเป็น “ตารางเมตร” (m2)
ความดันจึงมีหน่วยเป็น “นิวตันต่อตารางเมตร” (N/m2 เขียนในรูป
หน่วยฐานว่า kg·m−1·s−2

 
เรียกว่า 
ปาสกาล (pascal ตัวย่อ Pa) และกำหนดให้หน่วยชนิดนี้เป็นหน่วย SI Unit เอสไอสำหรับความดัน โดยให้ 1 ปาสกาลมีค่าเท่ากับ 1 นิวตันต่อตารางเมตร (หรือแรง 1 นิวตัน กระทำตั้งฉากกับพื้นที่ขนาด 1 ตารางเมตร) เพื่อให้เห็นภาพ ความดัน 1 ปาสกาลจะมีค่าประมาณ แรงกดกระทบของธนบัตรหนึ่งดอลลาร์ที่วางอยู่ บนโต๊ะในแนวราบ ซึ่งถือว่าเป็นแรงที่มากระทำน้อยมาก ดังนั้น ในชีวิตประจำวัน ความดันทั้งหลายมักมีค่าตั้งแต่ “กิโลปาสกาล” (kPa) ขึ้นไป
โดยที่ 1 kPa = 1000 Pa

ใน SI unit ความดันมีหน่วย เป็น ปาสคาล (Pa) หรือ นิวตันต่อตารางเมตร
หรือ กิโลกรัมต่อเมตรต่อวินาทีกำลังสอง  ส่วนความดันในหน่วย มิลลิเมตรปรอท (mmHg) ซึ่ง 760 mmHg = 101325 Pascal  หรือ 1 atm = 101325 Pa = 101.325 kPa แต่อย่างไรก็ตามความดันในหน่วย mmHg ไม่ใช่หน่วยของ SI unit แต่ก็อนุโลมให้ใช้ค่าความดันในหน่วย mmHg หรือ ความดันบรรยากาศเป็นหน่วยความดันมาตรฐาน

เราสามารถแปลงหน่วยจาก mmHg เป็น Pa ได้โดย

760 mmHg = 1.01325 × 105 Pa

1 × 103 Pa มีค่าเท่ากับ 1 kPa;

1.01325 × 105 Pa = 1.01325 × 102 kPa = 1 atm (atmosphere)

หน่วยของความดันนอกจากปาสคาลแล้ว ยังมีหน่วยชนิดอื่นๆ เช่น บาร์บรรยากาศ (atm), เอทีทอร์ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (psi) เป็นต้น ขึ้นอยู่กับการใช้ในแต่ละสถานการณ์

 

อ้างอิง หน่วย SI Unit คือหน่วยที่ถูกยอมรับระดับสากล ว่าสามารถอ้างอิงและยอมรับว่ามีความถูกต้องและสามารถย้อนกลับไปหาต้นกำเนิดได้อย่างถูกต้องและมีความแม่นยำสูง แต่หน่วยอื่นๆ ที่เห็นและแปลงไปมา ขึ้นอยู่กับประเทศนั้นๆ

 

 

 




Gas Articles

Oxygen ออกซิเจน article
Carbon Monoxide ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ article
การแปลงหน่วย ระดับ ppm ppb ppt
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur dioxide) หรือ SO2
H2S article
Carbon dioxide คาร์บอนไดออกไซด์
ระดับเสียงที่เพิ่มขึ้นจากเสียงสองแหล่ง
pm 2.5 คืออะไร
ชนิดของความดัน
ก๊าซมีเทน
เอทิลีน คือ
การวัดอัตราการซึมผ่านของไอน้ำ Water Vapor Transmission Rate article
การวัดอัตราการซึมผ่านของออกซิเจน Oxygen Transmission Rate (OTR) article
การวัดอัตราการซึมผ่านของคาร์บอนไดออกไซด์ Carbon Dioxide Transmission Rate (CO2TR)
ใบรับรองการสอบเทียบจะมีอายุเท่าไร สามารถระบุลงไปได้หรือไม่อย่างไร?
IP Rating
ใส่ไนโตรเจนเข้าไปในผลิตภัณฑ์ต่างๆ
เครื่องวัดก๊าซ แก๊ส
เครื่องวัดแก๊สรั่วและวิธีใช้เครื่องวัดแก๊ส
แก๊สและสมบัติของแก๊ส
ISO17025 สอบเทียบเครื่องวัดแก๊ส
ข้อกำหนดเรื่องการสอบเทียบในระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2015
O3 พิษภัยของแก๊สโอโซน
NOx พิษภัย article
Toluene พิษภัย
Nitrogen Dioxide NO2 พิษภัย
NH3 แอมโมเนีย
ฟอร์มาลดีไฮด์
Benzene เบนซีน
ตารางความดัน
ก๊าซไข่เน่า
ฟอสฟีน คืออะไร
Biogas ก๊าซชีวภาพ article
พิษภัย VOCs article
Modified Atmosphere Packaging(MAP) การบรรจุแบบปรับบรรยากาศ article
Modified Atmosphere Packaging (MAP) การบรรจุภัณฑ์แบบปรับบรรยากาศ ภาค 2 article
Dew Point and RH ความเข้าใจและความแตกต่างของทั้งสอง
Indoor Air Quality
Wattmeter วัตต์มิเตอร์
หลักการ NIR สำหรับเครื่องวัดความชื้นแบบต่อเนื่อง article
Lower Explosive Limit การป้องกันการติดไฟ และการระเบิด article
แคลมป์มิเตอร์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
การดักจับและกักเก็บคาร์บอน
คาร์บอนไดออกไซด์คืออะไรและใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
การย่อยสลายขยะชีวภาพแบบไม่ใช้ออกซิเจน
พื้นที่เก็บข้อมูลควบคุมบรรยากาศ (CA)
บรรจุภัณฑ์ดัดแปลงบรรยากาศ การยืดอายุการเก็บรักษาอาหารที่เน่าเสียง่าย
พืชสวน การวัดค่าคาร์บอนไดออกไซด์
ระบบปรับอากาศ การทำความร้อน การระบายอากาศ และการปรับอากาศ
การควบคุมกระบวนการ เครื่องตรวจสอบก๊าซที่ควบคุมการอบชุบโลหะด้วยความร้อน
เหมืองแร่ โซลูชันการตรวจจับก๊าซคุณภาพสูง
การผลิตก๊าซชีวภาพและการย่อยแบบไม่ใช้ออกซิเจน
Total Organic Carbon (TOC) โซลูชันการตรวจจับก๊าซคุณภาพสูงสำหรับการวิเคราะห์ TOC
การตรวจสอบก๊าซจากหลุมฝังกลบและการจัดการก๊าซจากหลุมฝังกลบด้วยการตรวจจับก๊าซมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์
การควบคุมการปล่อย CO2 ด้วยเซนเซอร์ตรวจจับก๊าซเพื่อการเกษตร
NDIR CO2 Sensors
ก๊าซไนโตรเจนในอุตสาหกรรม (Nitrogen gas in the industry)
การคัดนกในการต่อสู้กับโรคไข้หวัดนก (Bird Culling in the Battle Against Avian Flu)
เซ็นเซอร์ CO2 สำหรับความปลอดภัยของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (CO2 Sensors for Nuclear Power Plant Safety)
การวัด CO2 สำหรับเครื่องดื่มอัดลมและความปลอดภัยของโรงเบียร์ (CO2 Measurement for Drink Carbonation and Brewery Safety)
การตรวจจับแก๊สรั่วด้วยเซนเซอร์ (Gas Leak Detection with Edinburgh Sensors)
การใช้น้ำแข็งแห้ง อันตรายและความปลอดภัย (Dry Ice Uses, Hazards and Safety)
CEMS ของกรมโรงงาน (CEMS Online ของกรมโรงงาน)
เอทิลีนออกไซด์ คือ(Ethylene Oxide)
มาตรฐาน iso 17025 ของห้องปฏิบัติการ
CEMS Analyzer
Sulfur hexafluoride (SF6)
ก๊าซฮีเลียม (Helium)
ตู้ดูดควัน ห้องปฏิบัติการ ( Fume Hood )
กฎหมายการติดตั้ง gas detector(มาตรฐานการติดตั้ง gas detector )
กฎหมาย สถาน ที่เก็บ ก๊าซ LPG (การจัดเก็บถังแก๊ส LPG)
4-20 mA คืออะไร
ตัวแทนจำหน่ายในไทย เครื่องวัดแก๊สคุณภาพระดับโลกแบรนด์ Honeywell
ตู้ควบคุมอุณหภูมิและ ความชื้นคืออะไร?